บทความ

กำลังแสดงโพสต์ที่มีป้ายกำกับ HR

อบรม OD ต่างกับอบรมหลักสูตรทั่วไปอย่างไร ?

รูปภาพ
           หลายท่านน่าจะคุ้นเคยกับคำว่า   “OD”   เป็นอย่างดี ช่วงต้นปีและปลายปี หลายองค์กรนิยมจัดอบรม ในรูปแบบกิจกรรม   OD : Organization Development   ทั้งภายในองค์กรและนอกสถานที่ ซึ่งก็ทำให้เกิดคำถามสำหรับผู้บริหาร ผู้อนุมัติงบประมาณตามมาว่า “แล้วกิจกรรมที่จัดขึ้นนี้ จะมีประโยชน์หรือไม่ ? ด้วยค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างสูง (บางกรณี สูงลิบลิ่วหลายล้านทีเดียว) ” หลังกลับมาทำงานแล้ว การหล่อหลวมเป็นหนึ่งเดียว ความสามัคคีในหมู่คณะ นโยบายที่ผู้บริหารส่งมอบไปจะงอกงามหรืองงงวยไปเช่นเดิมกันเล่า ?             “อบรม OD กันทำไมปลายปีต้นปี ?”           “อบรมแบบ OD ต่างจากอบรมภายใน(In-House Training )หลักสูตรทั่วไปอย่างไร ?”           “อบรม OD คืออบรมเพื่อความสนุกสนาน นอกสถานที่ ใช่หรือไม่ ? ”           “อบรม OD ต้องเลือกผู้จัดงานภายใน ภายนอกแบบไหนจึงเหมาะสม ?”  อบรม OD ต่างกับอบรมหลักสูตรทั่วไปอย่างไร ?            การจัดกิจกรรมอบรมนอกสถานที่ มิใช่ การพาพนักงานไปเที่ยว สำเริงสำราญ ดื่มด่ำธรรมชาติ ชมไพร ล่องน่านน้ำ นั่นคือ ประเด็นรองที่นักพัฒนาบุคลากรไม่คำนึงถึงมากนัก ประเด็นหลัก คือ นำนโยบายของ CEO มาทำ

หลักการเขียน JD ที่ดี

รูปภาพ
            การเขียน JD (Job Description)  หรือหน้าที่งาน เป็นเอกสารที่แสดงถึงขอบเขต ความรับผิดชอบในตำแหน่งงาน ซึ่งแต่ละองค์กรมีแนวทางการเขียนที่เหมือนหรือแตกต่างกันไป แต่ท้ายที่สุดของการเขียน นั่นคือ มุ่งให้ผู้ดำรงตำแหน่งนั้นทราบขอบเขตของความรับผิดชอบงาน พร้อมบอกคุณลักษณะ คุณสมบัติที่เหมาะสมในตำแหน่งนั้นๆ ให้ตรงตามความต้องการขององค์กร           การเขียน JD ที่ถูกต้องนั้น ควรเริ่มต้นมาจากการเชื่อมโยงจากนโยบาย วิสัยทัศน์ เป้าหมายที่องค์กรวางกลยุทธ์ไว้ก่อน โดยกำหนดหน้าที่งานตามภารกิจหน้าที่ ที่สอดคล้องกับ แผนผังโครงสร้างองค์กร (Organization Chart)   การเขียนมีความชัดเจน ครอบคลุมในหน้าที่ของแผนกหรือหน่วยงาน           แรกเริ่มนั้น ควรมีการ  วิเคราะห์งาน (Job Analysis :JA)   แต่ละงาน ให้ถ่องแท้เสียก่อน เพราะหากเริ่มเขียนใหม่ๆ จะพบว่างานบางหน้าที่มีความเกี่ยวข้อง เหมือนหรือซ้ำซ้อนกับแผนกอื่น ดังนั้น การเขียนที่ดีนั้น ผู้เขียนต้องมององค์รวม  แบบภาพใหญ่ (Big Picture)  ก่อน แล้วเก็บรายละเอียดปลีกย่อยแต่ละหน้าที่           มีบางท่าน เคยถามผู้เขียนว่า จริงๆแล้วหน้าที่การเขียน JD ปรับปรุง คือหน้าท

กลยุทธ์สู่นัก HR ผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ (Functional Expert)

รูปภาพ
            งานทรัพยากรบุคคล ถือเป็นงานที่มีความสำคัญและส่งผลกระทบต่อการสอดรับนโยบายองค์กร ผู้ที่ทำงานด้านสายงานทรัพยากรบุคคล ต้องมีความรู้   ความเชี่ยวชาญในอาชีพ (Functional Expert)   และมีทักษะเฉพาะทาง ในการทำงาน ด้วยความเข้าใจ ยืดหยุ่น มีการปรับตัวได้ดี ในทุกสภาพการณ์           ดังนั้น งานบริหารงานบุคคลจึงถือเป็นงาน ที่วัดฝีมือความสามารถ สำหรับนักบริหารบุคคลมืออาชีพ งานบริหารบุคคลถือเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนองค์กรและมีบทบาทเป็น  หุ้นส่วนเชิงกลยุทธ์วางยุทธ์ศาสตร์ (Strategic Partner)  ให้บรรลุเป้าหมายและประสบความสำเร็จ ซึ่งผู้บริหารงานด้านบุคคล ต้องมีวิสัยทัศน์ที่ดีและมี  เจตจำนงทางยุทธศาสตร์ (Strategic Intent)  สามารถบริหารจัดการงาน ให้เกิดเป็นรูปธรรมขึ้นมาได้ กลยุทธ์สู่นัก HR ผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ (Functional Expert)           อาชีพด้านบริหารทรัพยากรบุคคล จึงมีความตื่นตัว ในการเพิ่มขีดศักยภาพ รวมทั้ง แนวคิดการจัดตั้งสภาวิชาชีพด้านทรัพยากรบุคคล           การเป็นผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพการบริหารทรัพยากรบุคคล สามารถแสดงบทบาทการเป็น บทบาท“ผู้เชี่ยวชาญด้านบริหารทรัพยากรบุคคล” ได้ 2 ระดับ

ประโยชน์ของการจัดทำ Competency

รูปภาพ
  การจัดทำระบบCompetencyในปัจจุบัน สำหรับองค์กรที่เริ่มดำเนินการ หลายองค์กรพยายามปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้ระบบสมรรถนะความสามารถนำมาใช้บริหารองค์กรและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้จริง

มี Roadmap ธุรกิจประสบความสำเร็จ

รูปภาพ
  หลายท่านคงคุ้นกับคำว่า Roadmap เพราะช่วง 1 ปีที่ผ่านมาประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย รวมถึงการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจที่มีแผนกลยุทธ์ระยะยาวด้วย Roadmapหรือยุทธศาสตร์ที่กำหนดการทำงานร่วมกัน

ทำไมต้องอินเดีย ? (ภาค 1)

รูปภาพ
  ความน่าสนใจตรงที่ “คนไทยมองภาพ.. อินเดียมีแต่ขอทาน บ้านเมืองสกปรก ขี้โกง คุยโอ่ แต่คนอินเดีย ชอบของไทย ซื้อแม้กระทั่งกระป๋องพลาสติกแบรนด์ Made In THAILAND” …

แนวทางการนำผลประเมิน Competency ไปใช้

รูปภาพ
  ทั้งนี้ ผู้เขียนขอยกตัวอย่างการนำผลประเมิน Competency เพื่อใช้ในการบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สามารถทำได้อย่างเป็นรูปธรรมและเกิดการพัฒนาต่อเนื่อง

มองปัญหาคือโอกาส

รูปภาพ
  วิวัฒนาการของมนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ 20 ล้านปีกว่ามานี้ โดยเริ่มจากการเดินสองเท้า การหาอาหารล่าสัตว์ เครื่องปกปิดร่างกายกลายมาเป็นเครื่องนุ่งห่มและสร้างที่อยู่อาศัยจากเดิมอยู่ป่า

หลักสูตร การสอนงาน(Coaching)ทำให้พนักงานใหม่อยู่หรือไป ? สำคัญจริงหรือ

รูปภาพ
  หลายบริษัทที่กังขาอยู่ระหว่างการใช้งบประมาณเพื่อการฝึกอบรมพนักงาน ใช้เท่าไรดี ? หรือแค่ปฐมนิเทศพนักงานใหม่ อบรมคนเก่าบ้างพอหอมปากหอมคอ สำหรับนัก HR ที่ดีนั้นต้องมองพนักงานในองค์กรตั้งแต่แรก

วิธีกำหนดการประเมินผล Competency

รูปภาพ
  นอกจากการจัดทำระบบ Competency ที่ใช้เวลาและรายละเอียดพอสมควรแล้ว ขั้นตอนต่อไปซึ่งถือว่ามีความสำคัญไม่แพ้กัน คือ การกำหนดวิธีการประเมิน Competency ของพนักงานรายบุคคล

ขั้นตอนจัดทำ Competency ให้บรรลุเป้าหมาย

รูปภาพ
การประเมินผลพนักงานในองค์กร ทำให้ทราบถึงจุดดี จุดด้อย ของการพัฒนาและเพิ่มทักษะพนักงานให้ทำงานอย่างมีประสิทธิผล พนักงานที่ไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับหน้าที่ วัฒนธรรมองค์กร อาจต้องถอยหลังเดินออก

สมรรถนะ (Competency Model) มีอะไรบ้าง ?

รูปภาพ
ปัจจุบันระบบสมรรถนะมีการใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยมีการกำหนดให้สอดคล้องไปตามนโยบายและขอบเขตการพัฒนาองค์กร ขึ้นอยู่กับความสำคัญและความจำเป็นแต่ละหน่วยงาน