บทความ

กำลังแสดงโพสต์ที่มีป้ายกำกับ JD

หลักการเขียน JD ที่ดี

รูปภาพ
            การเขียน JD (Job Description)  หรือหน้าที่งาน เป็นเอกสารที่แสดงถึงขอบเขต ความรับผิดชอบในตำแหน่งงาน ซึ่งแต่ละองค์กรมีแนวทางการเขียนที่เหมือนหรือแตกต่างกันไป แต่ท้ายที่สุดของการเขียน นั่นคือ มุ่งให้ผู้ดำรงตำแหน่งนั้นทราบขอบเขตของความรับผิดชอบงาน พร้อมบอกคุณลักษณะ คุณสมบัติที่เหมาะสมในตำแหน่งนั้นๆ ให้ตรงตามความต้องการขององค์กร           การเขียน JD ที่ถูกต้องนั้น ควรเริ่มต้นมาจากการเชื่อมโยงจากนโยบาย วิสัยทัศน์ เป้าหมายที่องค์กรวางกลยุทธ์ไว้ก่อน โดยกำหนดหน้าที่งานตามภารกิจหน้าที่ ที่สอดคล้องกับ แผนผังโครงสร้างองค์กร (Organization Chart)   การเขียนมีความชัดเจน ครอบคลุมในหน้าที่ของแผนกหรือหน่วยงาน           แรกเริ่มนั้น ควรมีการ  วิเคราะห์งาน (Job Analysis :JA)   แต่ละงาน ให้ถ่องแท้เสียก่อน เพราะหากเริ่มเขียนใหม่ๆ จะพบว่างานบางหน้าที่มีความเกี่ยวข้อง เหมือนหรือซ้ำซ้อนกับแผนกอื่น ดังนั้น การเขียนที่ดีนั้น ผู้เขียนต้องมององค์รวม  แบบภาพใหญ่ (Big Picture)  ก่อน แล้วเก็บรายละเอียดปลีกย่อยแต่ละหน้าที่           มีบางท่าน เคยถามผู้เขียนว่า จริงๆแล้วหน้าที่การเขียน JD ปรับปรุง คือหน้าท

เทคนิค 1 - 3 – 5 - 1 ปฐมนิเทศพนักงาน

รูปภาพ
            การแนะนำรายละเอียดขององค์กร โครงสร้าง หน้าที่งาน วัฒนธรรมองค์กรคงไม่เพียงพอ ที่ทำให้ตัดสินใจทำงานหรือเดินจากไปแบบกู่ไม่กลับ หลายองค์กรพยายามเฟ้นหาคนเก่งมาทำงานพร้อมกับสูญเสียคน เก่งให้คู่แข่งไปแบบลอยละลิ่ว ซึ่งไม่ใช่แค่เรื่องเล็กๆสำหรับการจัดโปรแกรมปฐมนิเทศ (Orientation)พนักงานใหม่ ความสำคัญอยู่ที่ผู้จัดโดยฝ่ายพัฒนาบุคลากรมีความพร้อมในการวางแผนอย่างไร กำหนดวัตถุประสงค์เตรียมวางโปรแกรมเหมาะสม หรือไม่

สมรรถนะ (Competency Model) มีอะไรบ้าง ?

รูปภาพ
ปัจจุบันระบบสมรรถนะมีการใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยมีการกำหนดให้สอดคล้องไปตามนโยบายและขอบเขตการพัฒนาองค์กร ขึ้นอยู่กับความสำคัญและความจำเป็นแต่ละหน่วยงาน